วันจันทร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

กิจกรรมที่ 17-21 ม.ค.54



ตอบ...2 หินงอกหินย้อย+เผากระดาษ
หินงอก - หินย้อย หินงอกคือหินที่งอกจากพื้น


หินย้อย คือหินที่ย้อยลงมาจากด้านบน

เกิดมากโดยเฉพาะภูเขาหินปูน(CO2 ) ซึ่งละลายในน้ำฝนกลายเป็นกรดคาร์บอนิก(H2CO3) ไหลไปตามก้อนหินและทำปฏิกิริยากับแคลเซียมตาร์บอเนตที่มีอยู่ในหินปูน เกิดเป็นสารละลายแคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต ซี่งไหลไปตามพื้นถนังถ้ำ เมื่อน้ำระเหยหมดก็เหลือตะกอนสะสมเป็นหินงอกหินย้อย จัดเป็นการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แบบช้าๆ


http://variety.teenee.com/science/1718.html









ตอบ...4
เมื่อนำลวดแมกนีเซียมใส่ลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก เป็นปฏิกิริยาระหว่างโลหะ (แมกนีเซียม) กับกรด (กรดไฮโดรคลอริก) สารทั้งสองจะทำปฏิกิริยากัน เกิดการเปลี่ยนแปลงได้สารใหม่เกิดขึ้นดังสมการ









เขียนเป็นสัญลักษณ์ของธาตุและสารประกอบในปฏิกิริยาได้ดังนี้
Mg = แมกนีเซียม
HCl = กรดไฮโดรคลอริก (กรดเกลือ)
MgCl2 = แมกนีเซียมคลอไรด์
H2 = ไฮโดรเจน
http://www.muslimthai.com/main/1428/content.php?category=110&id=5000










ตอบ...4
กรดกำมะถัน หรือ กรดซัลฟิวริก (อังกฤษ: sulfuric acid หรือ อังกฤษบริติช: sulphuric acid) , H2SO 4, เป็น กรดแร่ (mineral acid) อย่างแรง ละลายได้ในน้ำที่ทุกความเข้มข้น ค้นพบโดย จาเบียร์ เฮย์ยัน (Jabir Ibn Hayyan) นักเคมีชาวอาหรับ พบว่ากรดซัลฟิวริกมีประโยชน์มากมายและเป็นสารเคมีที่มีการผลิตมากที่สุด รองจากน้ำ ในปี ค.ศ. 2001 ทั่วโลกผลิตรวมกันประมาณ 165 ล้านตัน ซึ่งมูลค่าประมาณ 320,000 ล้านบาท (8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) ประโยชน์ของกรดกำมะถันได้แก่ ใช้ในการผลิตปุ๋ยกระบวนการผลิตแร่ การสังเคราะห์เคมี การกำจัดน้ำเสีย ใช้เป็นสารละลายอิเล็กทรอไลต์ในแบตเตอรี่และกระบวนการกลั่นน้ำมัน กรดกำมะถันมีชื่อเดิมคือ "Zayt al-Zaj" หรือ "ออยล์ออฟวิตริออล" (oil of vitriol)

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%96%E0%B8%B1%E0%B8%99












ตอบ 1









Hydrogen เรียกไอโซโทปนี้ว่า โปรเทียม (Protium)












Deuterium เรียกไอโซโทปนี้ว่า ดิวเทอเรียม (Deuterium: D)






















Tritrium เรียกไอโซโทปนี้ว่า ตริเตรียม (Tritrium: T)






จากรูป ถ้าผมให้ลูกกลมสีแดง แทนโปรตอน และลูกกลมสีเทา แทนนิวตรอน ความหมายของ แต่ละไอโซโทป ก็คือ

ภาพแรก หมายความว่า ไอโซโทปนี้ประกอบด้วยโปรตอนเพียงตัวเดียว และไม่มีนิวตรอน
ภาพที่สอง หมายความว่า ไอโซโทปนี้ประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอน อย่างละ 1 ตัว
ภาพที่สาม หมายความว่า ไอโซโทปนี้ประกอบด้วยโปรตอนเพียงตัวเดียวและมีนิวตรอน 2 ตรอน

http://www.sudipan.net/phpBB2/viewtopic.php?t=5494




















ตอบ 2














คาบที่ 1 มี 2 ธาตุ คือ H , He* คาบที่ 2 มี 8 ธาตุ คือ ตั้งแต่ Li ถึง Ne* คาบที่ 3 มี 8 ธาตุ คือ ตั้งแต่ Na ถึง Ar* คาบที่ 4 มี 18 ธาตุ คือ ตั้งแต่ K ถึง Kr* คาบที่ 5 มี 18 ธาตุ คือ ตั้งแต่ Rb ถึง Xe* คาบที่ 6 มี 32 ธาตุ คือ ตั้งแต่ Cs ถึง Rn* คาบที่ 7 มี 19 ธาตุ คือ ตั้งแต่ Fr ถึง Ha รวมทั้งหมด 105 ธาตุ เป็นก๊าซ 11 ธาตุ คือ H , N , O , F , Cl , He , Ne , Ar , Kr , Xe และ Rn เป็นของเหลว 5 ธาตุ คือ Cs , Fr , Hg , Ga และ Br ที่เหลือเป็นของแข็ง

สำหรับ 2 แถวล่างเลขอะตอม 58 - 71 และ 90 - 103 เป็นธาตุกลุ่มย่อยที่แยกมาจากหมู่ IIIB ในคาบที่ 6 และ 7 เรียกธาตุในกลุ่มย่อยนี้รวม ๆ ว่า กลุ่มธาตุเลนทาไนด์ และกลุ่มธาตุแอกทิไนด์


http://pakphanangscience.blogth.com/



















ตอบ 3
วาเลนซ์อิเล็กตรอน ที่อยู่ในวงโคจรของ อิเล็กตรอน ชั้นนอกสุดของอะตอม อิเล็กตรอน เหล่านี้จะมีส่วนร่วมใน ปฏิกิริยาเคมี ด้วย ธาตุที่มีอิเล็กตรอน ชั้นนอกสุดเต็มมักจะไม่ไวต่อปฏิกิริยา ส่วนธาตุที่มี อิเล็กตรอน ชั้นนอกสุดเกือบเต็มหรือเกือบว่างเช่นโลหะอะคาไล และ ฮาโลเจน จะมีความไวต่อปฏิกิริยา


















http://www.vcharkarn.com/vcafe/31101


















ตอบ...3
โมเลกุล
โมเลกุล (molecule) คือ อนุภาคที่เล็กที่สุดของสาร ซึ่งสามารถอยู่ได้อย่างอิสระในธรรมชาติ และสามารถแสดงสมบัติเฉพาะตัวของสารนั้นได้ โมเลกุลเกิดจากอะตอมตั้งแต่ 2 อะตอมขึ้นไปมารวมกันในทางเคมี เมื่อพิจารณาถึงชนิดของอะตอมที่มารวมกันสามารถจำแนกโมเลกุลได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. โมเลกุลของธาตุ ประกอบด้วยอะตอมชนิดเดียวกันมารวมกัน ตัวอย่างเช่น
- แก๊สไนโตรเจน (N2) ประกอบด้วยไนโตรเจน 2 อะตอม
- แก๊สไฮโดรเจน (H2) ประกอบด้วยไฮโดรเจน 2 อะตอม
- แก๊สออกซิเจน (O2) ประกอบด้วยออกซิเจน 2 อะตอม
- กำมะถัน (S8) ประกอบด้วยซัลเฟอร์ 8 อะตอม
2. โมเลกุลของสารประกอบ ประกอบด้วยอะตอมต่างชนิดกันมารวมกัน ตัวอย่างเช่น
- น้ำ (H2O) ประกอบด้วยไฮโดรเจน 2 อะตอม และออกซิเจน 1 อะตอม
- แอมโมเนีย (NH3) ประกอบด้วยไนโตรเจน 1 อะตอม และไฮโดรเจน 3 อะตอม
- กรดคาร์บอนิก (H2CO3) ประกอบด้วยไฮโดรเจน 2 อะตอม คาร์บอน 1 อะตอม และออกซิเจน 3อะตอม
- แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ (NH4OH) ประกอบด้วยไนโตรเจน 1 อะตอม ไฮโดรเจน 5 อะตอม และออกซิเจน
http://www.maceducation.com/e-knowledge/2412212100/11.htm






















ตอบ 2
ธาตุ X มีสมบัติคล้ายโลหะคือ มีผิวเป็นมันวาว นำไฟฟ้าได้ และไม่ละลายน้ำ ธาตุ X ไม่ควรเป็นธาตุหมู่ IA หรือหมู่ IIA
- เมื่อธาตุ X ทำปฏิกิริยากับ Cl2 ได้สารประกอบคลอไรด์เป็นของแข็งสีขาว ละลายน้ำได้สารละลายมีสมบัติเป็นกรด แสดงว่าเป็นสารประกอบคลอไรด์ของอโลหะ
- จากข้อมูลทั้งหมดทำนายได้ว่าธาตุ X มีสมบัติเป็นทั้งโลหะและอโลหะ X จึงจัดเป็นธาตุกึ่งโลหะ และควรอยู่ในหมู่ IVA ทางตอนล่างของตารางธาตุ ในทางกลับกัน ถ้าทราบตำแหน่งของธาตุในตารางธาตุจะสามารถทำนายสมบัติของธาตุได้
























http://chemist2008.ning.com/profiles/blogs/2179300:BlogPost:2920



















ตอบ 3
















































http:// nakhamwit.ac.th/pingpong_web/PeriodicTable.htm














































ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น